คำสั่งของการใช้งาน iMacro ครับ

ในการใช้งาน iMacro นั้น ควรรู้คำสั่งในการใช้งานครับ มีหลายๆอย่างที่ความสามารถของ iMacro มี และเราสามารถดึงมันมาใช้งานได้หลากหลายรูปแบบ เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ ตามความต้องการของเรา

รายการคำสั่งโดยละเอียดครับ

1. Command ที่สำคัญในการกำหนดเงื่อนไขและประกาศตัวแปร
1.1 Command บรรทัดแรกเป็นการประกาศ VERSION ของ iMacro ที่เราได้ทำการบันทึกหรือเขียนไว้
โค๊ด:
VERSION BUILD=6700624 RECORDER=FX
1.2 Command ที่กำหนดว่าจะให้ Macro กระทำกับ Tab ที่เท่าไร
โค๊ด:
TAB T=1
ใน กรณีที่เราเปิดใช้งาน Tab ใน Firefox Browser เอาไว้หลาย ๆ Tab และถ้าเราสั่งดำเนินการทันที iMacro ก็จะนับ Tab ปัจจุบันเป็น Tab ที่ 1 และนับ Tab อื่น ๆ เป็น Tab ที่ 2 ,3 ต่อไปเรื่อย ๆ ดังนั้นเราสวามารถกำหนดค่านี้เป็น TAB T=2 หรือ TAB T=3 ก็ได้
กรณีที่ไม่ต้องการให้เกิดความสับสนในการใช้ Tab คุณอาจจะเพิ่มคำสั่งด้านล่างเข้าไป เพื่อให้ Tab ที่ไม่เกี่ยวข้องถูกปิดไปทั้งหมด
โค๊ด:
TAB CLOSEALLOTHERS
1.3 Command ที่ใช้กำหนดให้ข้ามการดำเนินการที่ผิดพลาดและดำเนินการอย่างอื่นต่อไป
โค๊ด:
SET !ERRORIGNORE YES
SET !ERRORCONTINUE YES
Command 2 บรรทัดนี้นิยมใช้มากในกรณีที่สั่งให้ทำงานแบบ loop หรือมีการทำซ้ำหลาย ๆ รอบ เพราะจะช่วยให้การทำงานไม่จบลง เมื่อการทำงานยังไม่ครบตามที่ตั้งไว้
1.4 Command ที่ใช้ในการเรียกใช้ไฟล์ .csv
โค๊ด:
CMDLINE !DATASOURCE ชื่อไฟล์.csv
หรือ
โค๊ด:
SET !DATASOURCE ชื่อไฟล์.csv
หรือกรณีวางไฟล์เอาไว้นอก Folder Datasources เช่นวางไว้ที่ Drive D ก็ใช้คำสั่ง
โค๊ด:
SET !DATASOURCE D:\ชื่อไฟล์.csv
ไฟล์ .csv เป็นเหมือนเอกสารที่สามารถแบ่งข้อมูลออกเป็นแถวและหลักได้ ซึ่งสามารถเปิดแก้ไขในโปรแกรม MS Excel
และไฟล์ .csv จะถูกนำมาใช้ในกรณีที่ข้อมูลที่เราต้องการกรอกมีลักษณะทำซ้ำหลาย ๆ ครั้งด้วยรูปแบบเดียวกัน
เช่น ถ้าเราต้องการกนอก URL +Username +password 50 ชุด เราก็สร้างไฟล์ .csv ขึ้นมา 1 ไฟล์ ที่มี 50 แถว และมี 3 คอลัมน์ ที่ประกอบด้วย URL  Username และ password
แล้วใช้คำสังใน iMacro เรียกใช้ข้อมูลจากไฟล์  สำหรับรายละเอียดการสร้างไฟล์ เรียกใช้ไฟล์ DATASOURCE และการเรียกใช้ไฟล์จากDatasources จะกล่าวรายละเอียดในบทความตอนที่ 3 ครับ

1.5 Command ที่เกี่ยวข้องกับการเรียกใช้งาน ไฟล์ .csv จาก Datasourse
Command ที่กำหนดการเรียกใช้ข้อมูลจาก Column ที่ 1 ถึง 3
โค๊ด:
SET !DATASOURCE_COLUMNS 3
เลข 3 คือจำนวน Column ที่เราจะเรียกใช้ข้อมูลอาจจะกำหนดเป็น 1 หรือ 9 ก็ได้ขึ้นอยู่กับข้อมูลนำเข้า
Command ที่กำหนดให้ทำซ้ำโดยใช้แต่ละแถวตัวแบ่งการดำเนินการแต่ละรอบของ LOOP
โค๊ด:
SET !DATASOURCE_LINE {{!LOOP}}
Command ที่กำหนดว่าการทำงานแบบ LOOP นั้นจะทำซ้ำตั้งแต่แถวใดในไฟล์ .csv จาก Datasourse
โค๊ด:
SET !LOOP 1
ถ้าใส่เลข 1 ก็แปลว่าเริ่มทำซ้ำจากบรรทัดที่ 1
1.6 Command ที่กำหนดเวลาในการโหลด Webpage
โค๊ด:
SET !TIMEOUT 30
เวลา ปกติที่ Macro จะรอการเปิดหน้า Webpage เป็น 60 วินาที แต่ถ้าเราต้องการเร่งเวลาก็อาจจะเพิ่มคำสั่งนี้ลงไปให้เป็น 30 วินาที (ใส่เลข 30 เหมือนในตัวอย่าง) เป็นต้น
1.7 Command ที่กำหนดเวลาในการดำเนินการแต่ละขั้นตอน
SET !TIMEOUT_STEP 3
SET !TIMEOUT_TAG 3
คำ สั่งชุดนี้เป็นการกำหนด ให้รอการดำเนินการแต่ละขั้นตอนไม่เกิน 3 วินาที  สองคำสั่งนี้จะช่วยให้ Macro ทำงานเร็วขึ้น ซึ่งถ้าไม่ใช้ก็ไม่เสียหายอะไรเพราะค่าเดิมของ Macro จะตั้งไว้ที่ 6 วินาที
1.8 Command ที่เกี่ยวข้องกับการกรอก Password บน Webpage
ใช้ Command ด้านล่างเมื่อไม่ต้องการให้มีการ Lock หรือจดจำการใช้ Password (แนะนำให้ตั้งแบบนี้)
โค๊ด:
SET !ENCRYPTION NO
ใช้ Command ด้านล่างเมื่อต้องการให้มีการจดจำการใช้ Password ไว้ใน temporarily ในเครื่องของเราในขณะที่ run Macro อยู่
โค๊ด:
SET !ENCRYPTION TMPKEY
และใช้Command ด้านล่างเมื่อต้องการให้ใช้รหัสผ่านจากรหัสที่เก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ของคุณ (ในกรณีที่คุณบันทึกรหัสไว้บน Browser)
โค๊ด:
SET !ENCRYPTION STOREDKEY
1.9 Command ในการกำหนดค่าตัวแปร
ในการกำหนดค่าตัวแปรใน 1 Macro จะกำหนดได้ไม่เกิน 3 ตัวแปรซึ่งกำหนดได้โดยใช้ชุดคำสั่ง
โค๊ด:
SET !VAR1 ค่าตัวแปร1
SET !VAR2 ค่าตัวแปร2
SET !VAR3 ค่าตัวแปร3
ชุดคำสั่งด้านบนนี้จะใช้ในกรณีที่กำหนดตัวแปร 3 ตัวอาจจะกำหนดน้อยกว่านี้ก็ได้
และในการเรียกใช้ตัวแปรต่าง ๆ ทำได้โดยใช้โค้ด
โค๊ด:
{{!VAR1}}
โค๊ด:
TAG POS=1 TYPE=INPUT:TEXT FORM=ACTION:* ATTR=ID:email CONTENT={{!VAR3}}
หรือถ้าคัวแปรที่ 1 เป็นชื่อโดเมนก็อาจจะเรียกใช้โดยโค้ดด้านล่างเป็นต้น
โค๊ด:
URL GOTO=http://{{!VAR1}}

1.10 การใส่ Comment ใน Macro
การใส่ comment ใน Marcro สามารถใส่ได้ไม่จำกัดแต่มีเงื่อนไขว่าจะต้องเริ่มบรรทัดใหม่และนำด้วยเครื่องหมาย ‘
เช่น ดู comment บรรทัดสีเขียวในโค้ดด้านล่าง
โค๊ด:
TAG POS=1 TYPE=INPUT:TEXT FORM=ACTION:* ATTR=ID:homepage CONTENT=http://www.chaosiam.com
TAG POS=1 TYPE=INPUT:TEXT FORM=ACTION:* ATTR=ID:location CONTENT=USA
pause
'หยุดให้กรอก captcha ครับ กรอกแล้วกด Continue
2. Command ที่สำคัญในการกำหนดการดำเนินการ
TAG เป็นคำสั่งที่ใช้เลือก HTML ในหน้า Webpage ซึ่งจะใช้ Parameter  POS, TYPE, FORM  และ ATTR เป็นตัวตัดสินเลือก HTML บนหน้า Webpage ในแต่ละจุด
การดำเนินการในเต่ละขั้นตอนจะนำด้วย TAG และจะมาควบคู่กับ Parameter POS, TYPE, FORM  และ ATTR  เช่น
โค๊ด:
TAG POS=1 TYPE=SELECT FORM=NAME:form1 ATTR=NAME:select1 CONTENT=2
แต่ก็ไม่จำเป็นเสมอไป และเราสามารถตัดการใช้ Parameter ที่ไม่จำเป็นทิ้งไปได้ดูรายละเอียดเพิ่มจากด้านล่าง
2.1 POS (POSITION)
เป็น Parameter ที่ใช้ระบุตำแหน่งในกรณีที่ใน Webpage นั้น ๆ มีส่วนที่ซ้ำกันมากกว่า 1 แห่ง เช่น
โค๊ด:
POS=1
2.2 TYPE
เป็น Parameter ที่ใช้ระบุชนิดของ HTML ที่เราจะกระทำบนWebPage นั้น ๆ เช่น
โค๊ด:
TYPE=SELECT
โค๊ด:
TYPE=INPUT:TEXT
โค๊ด:
TYPE=A
โค๊ด:
TYPE=INPUT:SUBMIT
โค๊ด:
TYPE=INPUT:CHECKBOX
ต่อ เนื่องจากบทความ สอนใช้งาน iMacros : ตอนที่ 1 วิธีติดตั้ง iMacros และใช้งานเบื้องต้น ผู้ที่ได้อ่านแล้วคงมีความเข้าใจในเบื้องต้น เกี่ยวกับการ หลักการทำงานของ iMacros ,วิธี record การทำงานบน Webpage และนำผลการบันทึกนั้นมาเปิดใช้งาน
IMacrosTutorial สอนใช้งาน Imacro สอนทำ SEO Blogger
ก่อน จะกล่าวอะไรต่อไปผมอยากให้ผู้อ่านลองถามตัวเองก่อนว่า  เครื่องมือนี้ (iMacros) มีประโยชน์กับตัวคุณจริงหรือไม่? คุณต้องการเรียนรู้การใช้งาน iMacros จริง หรือไม่? ถ้าคำตอบคือไม่ผมก็ขอให้ผ่านบทความชุดนี้ไปเลย เพราะบทความชุดนี้จะต้องอ่านและทดลองทำไปด้วยจึงจะเกิดความเข้าใจและเห็นผล หากอ่านผ่าน ๆ แล้วไม่ได้ทำก็จะไม่มีทางเข้าใจเรื่องเหล่านี้ และจะเป็นการเสียเวลากับตัวคุณเอง
สำหรับบทความนี้ผมจะนำเสนอเพิ่มเติมอีก 4 ประเด็นคือ
1. รูปแบบ Script และ Command ของ Macro  ใน iMacros เป็นอย่างไร?
2. Command ที่สำคัญ และที่ใช้งานบ่อย ๆ ใน Macro  ที่ควรรู้จัก
3. การแก้ไข Script และ Command ในแต่ละ Macro
4. การนำเข้า Macro จากภายนอก
รูปแบบ Script และ Command ของ Macro  ใน iMacros เป็นอย่างไร?
ใน บทความตอนที่ 1 ผมได้สอนให้บันทึกกิจกรรมที่เราทำซ้ำ ๆ ด้วย iMacros และบันทึกออกมา ถ้าคุณลอง Click ขวาที่ List ทางซ้ายมือและเลือก Edit Macro ก็จะเห็นคำสั่งการทำงานที่มีเพียงไม่กี่บรรทัด
iMacros2.1 สอนใช้งาน Imacros
ตัวอย่าง ในที่นี้ผมได้บันทึกการ Submit บทความกับ Digg เอาไว้ และเมื่อเปิดขึ้นมาดูก็จะเห็น Script ต่าง ๆ ดังนี้
VERSION BUILD=6700624 RECORDER=FX
TAB T=1
URL GOTO=http://digg.com/
TAG POS=1 TYPE=A ATTR=ID:header-login
TAG POS=1 TYPE=INPUT:TEXT FORM=ACTION:/login/prepare/digg ATTR=NAME:username CONTENT=username
SET !ENCRYPTION NO
TAG POS=1 TYPE=INPUT:PASSWORD FORM=ACTION:/login/prepare/digg ATTR=NAME:password CONTENT=password
TAG POS=1 TYPE=INPUT:SUBMIT FORM=ACTION:http://digg.com/login/prepare/digg ATTR=VALUE:Login
TAG POS=1 TYPE=A ATTR=TXT:Submit<SP>New
TAG POS=1 TYPE=INPUT:TEXT FORM=NAME:NoFormName ATTR=ID:url CONTENT=http://www.chaosiam.com/
TAG POS=1 TYPE=INPUT:RADIO FORM=ID:thisform ATTR=ID:type-news
TAG POS=1 TYPE=INPUT:SUBMIT FORM=ID:thisform ATTR=ID:submit_button
TAG POS=1 TYPE=INPUT:TEXT FORM=NAME:NoFormName ATTR=ID:title CONTENT=หัวเรื่อง
TAG POS=1 TYPE=TEXTAREA FORM=NAME:NoFormName ATTR=ID:body CONTENT=เนื้อหาโดยย่อ
TAG POS=1 TYPE=A ATTR=ID:topic-503
TAG POS=1 TYPE=INPUT:TEXT FORM=NAME:NoFormName ATTR=ID:captcha CONTENT=รหัสCaptcha
TAG POS=1 TYPE=INPUT:SUBMIT FORM=ID:submission-step-2 ATTR=ID:submit_button
TAG POS=1 TYPE=A ATTR=TXT:Logout
โค้ด ด้านบนนี้ผมไม่ได้เขียนขึ้นมาเอง แต่เป็นโค้ดที่ได้จากการ RECORD (บันทึก) กิจกรรมที่ทำขณะ Submit บทความกับ Digg ด้วย iMarcro ซึ่งคุณเองก็สามารถทำได้โดยใช้วิธีในบทความตอนแรกที่ได้สอนไปแล้ว  และในทางปฏิบัติผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในจุดที่เป็นอักษรสีแดงของการบันทึกของ แต่ละคน และแต่ละครั้งจะไม่เหมือนกัน
จากตัวอย่างด้านบนจะเห็นว่า โค้ดที่ได้นั้นใช้ได้กับบทความเดียว เราจึงเกิดแนวคิดว่า ทำอย่างไร Macro ที่เราสร้างจะใช้งานได้ทุกครั้ง? และทำอย่างไรจะใช้งานให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด?
คำตอบคือเราจะต้อง รู้จักโค้ดของ Macro ให้มากขึ้น (ซึ่งหมายความว่าเราไม่จำเป็นต้องทราบทั้งหมด) และแก้ไข ดัดแปลงโค้ดที่ได้จากการ RECORD ให้เป็น และที่สำคัญพลิกแพลงใช้งานให้เป็นด้วย
Command ที่สำคัญ และที่ใช้งานบ่อย ๆ ใน Macro  ที่ควรรู้จัก
ถ้า สรุปโค้ดของ  Macro ผมขอแยกเป็น 2 ส่วนย่อย ๆ คือ ส่วนแรกคือการกำหนดเงื่อนไขและประกาศตัวแปรและส่วนที่สองคือส่วนดำเนินการ และโปรดสังเกตว่า โค้ดของ  Macro ไม่จำเป็นต้องมีส่วนจบ ถ้าไม่มีการดำเนินการใด ๆ ต่อแล้ว iMacro จะหยุดทำงานโดยอัตโนมัติ
1. Command ที่สำคัญในการกำหนดเงื่อนไขและประกาศตัวแปร
1.1 Command บรรทัดแรกเป็นการประกาศ VERSION ของ iMacro ที่เราได้ทำการบันทึกหรือเขียนไว้
VERSION BUILD=6700624 RECORDER=FX
ในกรณีเราเขียนเองอาจจะไม่มีข้อความ RECORDER=FX ก็ได้  และในทางปฏิบัติโค้ดบรรทัดนี้ไม่จำเป็นต้องแก้ไข
1.2 Command ที่กำหนดว่าจะให้ Macro กระทำกับ Tab ที่เท่าไร
TAB T=1
ใน กรณีที่เราเปิดใช้งาน Tab ใน Firefox Browser เอาไว้หลาย ๆ Tab และถ้าเราสั่งดำเนินการทันที iMacro ก็จะนับ Tab ปัจจุบันเป็น Tab ที่ 1 และนับ Tab อื่น ๆ เป็น Tab ที่ 2 ,3 ต่อไปเรื่อย ๆ ดังนั้นเราสวามารถกำหนดค่านี้เป็น TAB T=2 หรือ TAB T=3 ก็ได้
กรณีที่ไม่ต้องการให้เกิดความสับสนในการใช้ Tab คุณอาจจะเพิ่มคำสั่งด้านล่างเข้าไป เพื่อให้ Tab ที่ไม่เกี่ยวข้องถูกปิดไปทั้งหมด
TAB CLOSEALLOTHERS
1.3 Command ที่ใช้กำหนดให้ข้ามการดำเนินการที่ผิดพลาดและดำเนินการอย่างอื่นต่อไป
SET !ERRORIGNORE YES
SET !ERRORCONTINUE YES
Command 2 บรรทัดนี้นิยมใช้มากในกรณีที่สั่งให้ทำงานแบบ loop หรือมีการทำซ้ำหลาย ๆ รอบ เพราะจะช่วยให้การทำงานไม่จบลง เมื่อการทำงานยังไม่ครบตามที่ตั้งไว้
1.4 Command ที่ใช้ในการเรียกใช้ไฟล์ .csv
CMDLINE !DATASOURCE ชื่อไฟล์.csv
หรือ
SET !DATASOURCE ชื่อไฟล์.csv
หรือกรณีวางไฟล์เอาไว้นอก Folder Datasources เช่นวางไว้ที่ Drive D ก็ใช้คำสั่ง
SET !DATASOURCE D:\ชื่อไฟล์.csv
ไฟล์ .csv เป็นเหมือนเอกสารที่สามารถแบ่งข้อมูลออกเป็นแถวและหลักได้ ซึ่งสามารถเปิดแก้ไขในโปรแกรม MS Excel
และไฟล์ .csv จะถูกนำมาใช้ในกรณีที่ข้อมูลที่เราต้องการกรอกมีลักษณะทำซ้ำหลาย ๆ ครั้งด้วยรูปแบบเดียวกัน
เช่น ถ้าเราต้องการกนอก URL +Username +password 50 ชุด เราก็สร้างไฟล์ .csv ขึ้นมา 1 ไฟล์ ที่มี 50 แถว และมี 3 คอลัมน์ ที่ประกอบด้วย URL  Username และ password
iMacros Blogger SEO Facebook Tutorial
แล้วใช้ คำสังใน iMacro เรียกใช้ข้อมูลจากไฟล์  สำหรับรายละเอียดการสร้างไฟล์ เรียกใช้ไฟล์ DATASOURCE และการเรียกใช้ไฟล์จากDatasources จะกล่าวรายละเอียดในบทความตอนที่ 3 ครับ
1.5 Command ที่เกี่ยวข้องกับการเรียกใช้งาน ไฟล์ .csv จาก Datasourse
Command ที่กำหนดการเรียกใช้ข้อมูลจาก Column ที่ 1 ถึง 3
SET !DATASOURCE_COLUMNS 3
เลข 3 คือจำนวน Column ที่เราจะเรียกใช้ข้อมูลอาจจะกำหนดเป็น 1 หรือ 9 ก็ได้ขึ้นอยู่กับข้อมูลนำเข้า
Command ที่กำหนดให้ทำซ้ำโดยใช้แต่ละแถวตัวแบ่งการดำเนินการแต่ละรอบของ LOOP
SET !DATASOURCE_LINE {{!LOOP}}
Command ที่กำหนดว่าการทำงานแบบ LOOP นั้นจะทำซ้ำตั้งแต่แถวใดในไฟล์ .csv จาก Datasourse
SET !LOOP 1
ถ้าใส่เลข 1 ก็แปลว่าเริ่มทำซ้ำจากบรรทัดที่ 1
1.6 Command ที่กำหนดเวลาในการโหลด Webpage
SET !TIMEOUT 30
เวลา ปกติที่ Macro จะรอการเปิดหน้า Webpage เป็น 60 วินาที แต่ถ้าเราต้องการเร่งเวลาก็อาจจะเพิ่มคำสั่งนี้ลงไปให้เป็น 30 วินาที (ใส่เลข 30 เหมือนในตัวอย่าง) เป็นต้น
1.7 Command ที่กำหนดเวลาในการดำเนินการแต่ละขั้นตอน
SET !TIMEOUT_STEP 3
SET !TIMEOUT_TAG 3
คำ สั่งชุดนี้เป็นการกำหนด ให้รอการดำเนินการแต่ละขั้นตอนไม่เกิน 3 วินาที  สองคำสั่งนี้จะช่วยให้ Macro ทำงานเร็วขึ้น ซึ่งถ้าไม่ใช้ก็ไม่เสียหายอะไรเพราะค่าเดิมของ Macro จะตั้งไว้ที่ 6 วินาที
1.8 Command ที่เกี่ยวข้องกับการกรอก Password บน Webpage
ใช้ Command ด้านล่างเมื่อไม่ต้องการให้มีการ Lock หรือจดจำการใช้ Password (แนะนำให้ตั้งแบบนี้)
SET !ENCRYPTION NO
ใช้ Command ด้านล่างเมื่อต้องการให้มีการจดจำการใช้ Password ไว้ใน temporarily ในเครื่องของเราในขณะที่ run Macro อยู่
SET !ENCRYPTION TMPKEY
และใช้Command ด้านล่างเมื่อต้องการให้ใช้รหัสผ่านจากรหัสที่เก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ของคุณ (ในกรณีที่คุณบันทึกรหัสไว้บน Browser)
SET !ENCRYPTION STOREDKEY
1.9 Command ในการกำหนดค่าตัวแปร
ในการกำหนดค่าตัวแปรใน 1 Macro จะกำหนดได้ไม่เกิน 3 ตัวแปรซึ่งกำหนดได้โดยใช้ชุดคำสั่ง
SET !VAR1 ค่าตัวแปร1
SET !VAR2 ค่าตัวแปร2
SET !VAR3 ค่าตัวแปร3
ชุดคำสั่งด้านบนนี้จะใช้ในกรณีที่กำหนดตัวแปร 3 ตัวอาจจะกำหนดน้อยกว่านี้ก็ได้
และในการเรียกใช้ตัวแปรต่าง ๆ ทำได้โดยใช้โค้ด
{{!VAR1}}
เช่น ถ้าผมต้องการเรียกใช้ตัวแปรที่ 3 ซึ่งผมกำหนดไว้เป็น email ก็เรียกใช้โดย
TAG POS=1 TYPE=INPUT:TEXT FORM=ACTION:* ATTR=ID:email CONTENT={{!VAR3}}
หรือถ้าคัวแปรที่ 1 เป็นชื่อโดเมนก็อาจจะเรียกใช้โดยโค้ดด้านล่างเป็นต้น
URL GOTO=http://{{!VAR1}}
1.10 การใส่ Comment ใน Macro
การใส่ comment ใน Marcro สามารถใส่ได้ไม่จำกัดแต่มีเงื่อนไขว่าจะต้องเริ่มบรรทัดใหม่และนำด้วยเครื่องหมาย ‘
เช่น ดู comment บรรทัดสีเขียวในโค้ดด้านล่าง
TAG POS=1 TYPE=INPUT:TEXT FORM=ACTION:* ATTR=ID:homepage CONTENT=http://www.chaosiam.com
TAG POS=1 TYPE=INPUT:TEXT FORM=ACTION:* ATTR=ID:location CONTENT=USA
pause
‘หยุดให้กรอก captcha ครับ กรอกแล้วกด Continue
การใส่ Comment ลงไปในลักษณะนี้ Macro จะเข้าใจว่าไม่ต้องนับการดำเนินการในขั้นนี้และข้ามไปบรรทัดอื่น
2. Command ที่สำคัญในการกำหนดการดำเนินการ
TAG เป็นคำสั่งที่ใช้เลือก HTML ในหน้า Webpage ซึ่งจะใช้ Parameter  POS, TYPE, FORM  และ ATTR เป็นตัวตัดสินเลือก HTML บนหน้า Webpage ในแต่ละจุด
การดำเนินการในเต่ละขั้นตอนจะนำด้วย TAG และจะมาควบคู่กับ Parameter POS, TYPE, FORM  และ ATTR  เช่น
TAG POS=1 TYPE=SELECT FORM=NAME:form1 ATTR=NAME:select1 CONTENT=2
แต่ก็ไม่จำเป็นเสมอไป และเราสามารถตัดการใช้ Parameter ที่ไม่จำเป็นทิ้งไปได้ดูรายละเอียดเพิ่มจากด้านล่าง
2.1 POS (POSITION)
เป็น Parameter ที่ใช้ระบุตำแหน่งในกรณีที่ใน Webpage นั้น ๆ มีส่วนที่ซ้ำกันมากกว่า 1 แห่ง เช่น
POS=1
2.2 TYPE
เป็น Parameter ที่ใช้ระบุชนิดของ HTML ที่เราจะกระทำบน Web Page นั้น ๆ เช่น
TYPE=SELECT
TYPE=INPUT:TEXT
TYPE=A
TYPE=INPUT:SUBMIT
TYPE=INPUT:CHECKBOX
เป็นต้น
2.3 FORM
เป็น Parameter ที่สั่งให้กระทำกับ Tag Form ของ HTML บน Web Page นั้น ๆ เช่น
โค๊ด:
FORM=NAME:TestForm2
ใน กรณีที่เราต้องการป้องกันความผิดพลาดจากเว็บไซต์ที่เปลี่ยนข้อมูล session ID แบบ ไดนามิก ได้ด้วย หรือพูดให้เข้าใจง่ายคือการเข้าถึงข้อมูลแต่ละครั้งบน Website นี้จะได้รหัสข้อมูลแตกต่างกัน ถ้าเราใช้ URL ที่บันทึกไว้ครั้งแรก ครั้งที่ 2 ที่เข้าไปอาจจะไม่พบ และ Macro จะไม่ทำงาน วึ่งแก้ปัญหานี้โดยใช้
โค๊ด:
FORM=ACTION:*
(เทคนิคนี้สำคัญมาก เหมาะเอาไปประยุกต์ใช้) เช่น
โค๊ด:
TAG POS=1 TYPE=INPUT:TEXT FORM=ACTION:* ATTR=ID:email CONTENT={{!VAR3}}
2.4 ATTRIBUTE หรือตัวย่อใช้ว่า ATTR
เป็น Command ที่ใช้ในกรณีที่เราดำเนินการเกี่ยวกับ Text Link หรือ URL
ตัวอย่างคำสั่งกับ Text Link
โค๊ด:
ATTR=TXT:some_name
ตัวอย่างคำสั่งกับ URL
โค๊ด:
ATTR=HREF:some_url
โปรดสังเกตว่าค่าที่ต่อท้ายจะเป็นชื่อ Link หรือ URL
2.5 CONTENT
เป็น Parameter ที่ใช้ระบุข้อมูลที่เป็นรายละเอียดในการใช้งานแต่ละครั้ง เช่น ชื่อ password email ,URL หรือบทความที่จะนำไป Submit ซึ่งถ้าเราเขียนสคริปต์เป็นแล้วเราจะสามารถเรียกข้อมูลที่เป็น Content มาจาก Datasource หรือจากค่าตัวแปรที่กำหนดได้
ตัวอย่างการระบุข้อมูล CONTENT โดยตรง (กรณีกรอกชื่อว่า hackublog)
โค๊ด:
CONTENT=hackublog
ตัวอย่างกาเรียกใช้ข้อมูล CONTENT จากตัวแปร (กรณีเรียกใช้ตัวแปรที่ 2)
โค๊ด:
CONTENT={{!VAR2}}
ตัวอย่างการเรียกใช้ CONTENT จากคอลัมน์ของไฟล์ .csv จาก Folder Datasource (กรณีเรียกใช้ข้อมูลจาก คอลัมน์ ที่ 3)
โค๊ด:
CONTENT={{!COL3}}
2.6 Command GOTO
เป็นคำสั่งให้ไปยัง URL ที่ระบุ เช่น
โค๊ด:
URL GOTO=http://www.chaosiam.com/
โค๊ด:
URL GOTO={{!COL1}}
โค๊ด:
URL GOTO={{!COL1}}/index.php?action=register
2.7 EXTRACT
เป็นคำสั่งที่ใช้ในการกรณีที่ต้องการเก็บข้อมูลบน Webpage ในหลายกรณ๊เช่น
Extract Complete Website
โค๊ด:
'เก็บ Webpage ทั้งหน้า
TAG POS=1 TYPE=HTML ATTR=* EXTRACT=HTM
'เก็บ Webpage เฉพาะที่เป็น TEXT ทั้งหน้า
TAG POS=1 TYPE=HTML ATTR=* EXTRACT=TXT
'เก็บ Webpage เฉพาะส่วนหัว
TAG POS=1 TYPE=HEAD ATTR=* EXTRACT=HTM
'เก็บ Webpage เฉพาะส่วน BODY เท่านั้น
TAG POS=1 TYPE=BODY ATTR=* EXTRACT=HTM
Extract Page Title
โค๊ด:
URL GOTO=http://www.chaosiam.com/
TAG POS=1 TYPE=TITLE ATTR=* EXTRACT=TXT
ข้อมูลที่เก็บจะเป็นส่วน Title ของหน้า
Extract Page URL
โค๊ด:
ADD !EXTRACT {{!URLCURRENT}}
คำสั่งนี้สามารถประยุกต์ใช้ประโยชน์ได้มากเพราะสามารถเก็บ URL ของหน้าที่เปิดได้
2.8 SAVEAS
เป็นคำสั่งที่ต้องการให้มีการบันทึกข้อมูลบนหน้า Webpage หรือข้อมูลที่ได้จากการ EXTRACT ลงบนเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา เช่น
โค๊ด:
SAVEAS TYPE=EXTRACT FOLDER=* FILE==ชื่อไฟล์.csv
โค๊ด:
SAVEAS TYPE=CPL FOLDER=* FILE=+_{{!NOW:yyyymmdd_hhnnss}}
2.9 <SP>
เป็นโค้ดที่ใส่คั่นให้ข้อความใน Macro มีการเว้นวรรค
2.10 <BR>
เป็นโค้ดที่ใส่คั่นให้ข้อความใน Macro มีการขึ้นบรรทัดใหม่

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น